วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2550

ตื่นเถิดชาวไทย อย่าเอาเปรียบลูกหลาน

ชาวโลกตื่นตัวแล้ว ไทยเราก็ตื่นตัวเช่นกัน ลองอ่านี่ดู แล้วเข้าไปทดสอบตัวเองที่เวบไซต์ข้างล่าง
คุณเอาเปรีบยเพื่อนๆ ชาวไทย และชาวโลก หรือเปล่า ด้วยการใช้ทรัพยากรธรรมชาตมากกว่า ผ่านทางเปิดไฟทิ้งไว้ สตาร์ทเครื่องทิ้งไว้ ทานเนื้อมาก (ยังไง งง) หาคำตอบได้ถ้าคุณอยากรู้

สิ่งที่ต้องทำ
  1. ดาวน์โหลดเอกสารแนบ แล้วอ่าน
  2. ทดสอบตัวเองในเวบไซท์ http://www.bestfootforward.com/ และ http://www.earthday.net/footprint/info.asp
เพราะรักเพื่อนทุกคน ถึงส่งมาให้
อาจจะถามทำไม ..............

เพื่อนๆคนไม่สุขใจนัก ถ้า..........ลูกๆ หลาน เรา..........สงสัยว่า............

..................น้ำใสเหมือนคริสตัล...............
......น้ำฝนหวานเย็นชื่นใจที่ดื่มได้ (ที่เราไม่ได้ดื่ม(เพราดื่มไม่ได้)).............
.........................ปลาพะยูน...........นกเงือก.........ปะการัมือเสือ............
.........

...เป็นยังไง สวยไหม ทำไมหนู..........ไม่เห็นเคยเห็นล่ะคะ..........??!?!?!?

ไม่ใช่แค่ความ.......สวยงาม....ที่จะไม่มีให้เห็น

..........................น้ำสะอาด ที่ใช้อุปโภค บริโภค อย่างสะดวกสบายในปัจจุบัน..............
ต้องซื้อหา แข่งขัน แย่งชิง................เหมือน..น้ำมัน...ในตอนนี้
.....แต่.............น้ำ...........ร้ายแรงกว่า......................เมื่อเราอยู่ไม่ได้.........หากขาดน้ำ........
ดังนั้น.....แพงแค่ไหน ลำบากเท่าไร ...............ก็ต้องหามา................
แล้วคนจนที่ไม่มีกำลังซื้อหาล่ะ.................น้ำไร้คุณภาพ.................ปัญหาสุขภาพ.....โรคระบาด............

เริ่มวันนี้...........ยังทัน............ดีกว่า...............เป็นผู้สมรู้ร่วมคิด...........อาชญากรรมโลก

...........ทั้งหมด......ไม่ใช่เพื่อโลก.....แต่..............เพื่อตัวเราเอง..........

คำเตื่อนจากผู้หญิงชาวมาร์
นามว่า KITTY (เติ้ล)

วันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2550

เล่าเรื่อง "น้ำ"

ที่อังกฤษเค้าเรียนกันด้านนี้เยอะมากๆ และงานรองรับเยอะด้วยทั้งองค์กรในประเทศและต่างประเทศ ชาวอังกฤษมีโอกาสหางานด้านนี้เยอะกว่าเราเพราะองค์กรที่ทำงานด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารเป็นหลัก ถ้าเราสามารถทำงานใช้ภาษาได้ก็ไม่ต้องห่วงเรื่องงานค่ะ

คุณภาพของทะเล ก็คือคุณภาพของโลกนะคะ ถ้ารู้จักทะเลแล้วต้องตะลึงในความน่าทึ่งและ ผลกระทบต่อโลกมีมากมหาศาลจนอยากจะพูดได้ว่าสุขภาพของสิ่งมีชีวิตบนพื้นดิน ได้รับผลพวงจากท้องทะเล และในทางกลับกัน สุขภาพของทะเล ก็ได้รับจากพื้นดินเช่นกัน

ที่ ออกเตรเลีย อังกฤษ อเมริกา ผู้คนให้ความสนใจวิทยาศาสตร์ทางทะเลมากค่ะ ยิ่งตอนนี้เรื่องภาวะโลกร้อน ระดับน้ำทะเล อุณหภูมโลกและน้ำทำเล ส่งผลกระทบทุกด้าน เอาเป็นว่าที่ออสเตรเลีย เขาหาเสียงกันด้วยการยกประเด็นเรื่องแก้ไขปัญหาโลกร้อนมาเรียกคะแนนโวท ท่าทางจะสำเร็จซะด้วยนะคะ
ที่อังกฤษ นโยบายระดับชาติ ผนวกเอาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลมาช่วยในการออกนโยบายการจัดการด้านน้ำท่วม Flood risk management เขาเตรียมรับมือกับภาวะน้ำทำเลสูงขึ้นด้วยนโยบายใหม่ออกมเื่อต้นปี2000 ชื่อ Making Space Fore Water (DEFRA, ใช้การจัดการแบบระบบธรรมชาต soft engineer (เช่น สร้างพื้นที่ saltmarsh) แทนระบบโครงสร้างอย่างเขื่อนคอนกรีต (seawall, hard engineer)

เห็นได้ว่า ประเทศพัฒนาแล้วมีความรู้และพยายามศึกษาธรรมชาต และผนวกธรรมชาติร่วมในการตัดสินใจในนโยบายระดับชาติ แต่น่าเศร้าที่ ประเทศไทยเรายังไม่มีการับมือด้านนี้อย่างพอเพียง ดังนั้นเมื่อเกิดภัยภิบัติในรูปแบบต่างๆ ความเสียหายจึงมากกว่าประเทศเจิญแล้ว นั่นไม่ใช่เพราะว่าเราโดนภัยธรรมชาติที่หนักหนา แต่เป็นเพราะเราขาดแคลนการจัดการที่มีประสิทธิภาพที่จะรับมือกับเหตุร้ายที่จะเกิดขึ้นทั้งที่คาดไว้ และไม่คาดคิด

นี่ล่ะคือข้อแตกต่างที่ใหญ่ยิ่งระหว่าง ประเทศกำลังพัฒนา และประเทศพัฒนาแล้ว ที่้เรา ประเทศไทยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องเร่งมือปรับปรุง โดยเริ่มจากการตระหนักรู้ว่าเราอยู่ตรงไหนก่อนเป็นอันดับแรก

ข้างบนนั้นเป็นแง่ของการจัดการ ซึ่งหลักๆแล้วองค์กรรัฐบาลเป็นผู้ดูแล
แล้วเราล่ะ ประชาชนผู้ซึ่งมาจำนวนมหาศาาลมากก่วาผู้ออกนโยบายหลายสิบเท่าตัว
เราตระหนักรู้ขนาดไหนว่าเรายืน ณ. จุดไหน ส้ราง หรือ ทำลายสิ่งแวดล้อม (ทั้งรู้ตัว และไม่รู้ตัว)

เราอาจจะคิดว่าเราแค่คนๆเดียว จะส่งผลอะไรมากมายต่อโลกทั้งไป ต่อประชากร 7,000 ล้านคนทั่วโลก ทุกวันนี้ทุกคน (ส่วนมาก) คิดแบบนี้ แต่เพราะความคิดแบบนี้แหล่ะที่ทำลายเราทั้งโลก

นักวิทยาศาสตร์ สำรวจและยืนยันแล้วว่า มลพิษที่ส่งผลต่อน้ำทะเลมากที่สุด มาจาก "การขับถ่ายของมนุษย์" (ลองคิดดูว่า เพราะเราต้องการประหยัดเงินในการติดตั้งถังบำบัดเพราะคิดว่าไม่เป็นไรหรอก ครอบครัวเรามีแค่สองสามคน จะส่งผลกระทบอะไรมากมาย แต่เผอิญว่าหลายๆครอบครัวคิดแบบนี้)

มาดูวงจรการสุญเสียที่เกิดขึ้นจาก การขับถ่ายของมนุษย์ที่ไม่ได้บำบัดกันนะคะ

ของเสียไม่บำบัด > น้ำทะเลเสื่อมโทรม > ปลาลดจำนวนลง > ชาวประมงจับปลาได้น้อย (เดือดร้อนถึงผู้บริโภค ราคาปลาสูง๗ > เศรษฐกิจชาติต่ำลง

ของเสียไม่บำบัด > น้ำทะเลเสื่อมโทรม > แหล่งท่องเที่ยวไม่สวยอีกต่อไป > ไม่มีนักท่องเที่ยว > แม่ค้า เจ้าของรีสอร์ทปิดตัว > ตกงาน > เศรษฐกิจสังคมต่ำ คุณภาพชีวิตต่ำ

คงจะพอเห็นภาพโดยรวมนะคะว่า ธรรมชาติ และเศรษฐกิจ และ ความเป็นอยู่ มีความเกี่ยวเนื่องกันอยู่
ไม่มีอะไรในโลก "แยกอยู่อย่างโดดเดี่ยว" ทุกสิ่งที่เราทำ ส่งผลกระทบต่ออีกสิ่งเสมอ และท้ายที่ทุดสิ่งนั้นก็จะกลับมากระทบต่อเราในบางรูปแบบ เป็นวัฏจักรของโลก

วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2550

Sustainable Development

last few weeks, we had 'Sustainable Development' class provided by ' CSF, Center for Sustainable Future' (http://csf.plymouth.ac.uk/?q=node) run by University of Plymouth. the class did attract every one by its amazing theory such as 'let your kids back to nature'. I bear in mind one theory presented by our lecturer, Alan,........................

Awareness=>knowledge=>understanding=>care=>responsibilities=>ACTION

Buckminster Fuler: “You never change things by fighting the existing reality. To change something, building a new model that make the existing model obsolete” OUT OF BOX

“If you have to make thing change, you have to change the CULTURE.” Make things go well with you!!!

Meadows et al (2005) a sustainable society

Understand=>sufficient (Skills/knowledge)=>Recognise

After the class, i went to univ. lib to get a book namely ' Education for sustainability' . i spent few hours on it, but only one thing i remember is Tevevision plays an important role on teenager and is powerful tool to get their attention. on the same day, i borrow a movie, An inconvenient truth, of which Al Gore conveyed key message through the movie using media as a tool. Mention to the book and the movie, it is clear that team producer of the movie used the same theory describe in the book. this is just my observation of which i think the movie get the key messages across the audiences effectively measuring on my feeling as one of those audience. the movie inspired me starting to do some action, using my knowledge, encouraging people surrounding me, for example.


Again, I have been asking myself that ' which thesis topic should be ?' i want to do something which is not just response my curiosity but also can be used in forthcoming future in Thailand esp. Chonburi as well.

just rough idea come across my head " Thai's perception of Marine Environment and its benefitial" of which using search article in sciendirect as guideline .

Today my good friend, Naveen, asked me that 'Will I study Ph.D?' after hold the master. um....Good question, but only one answer i can say is i want to earn some experience on working and get specific field that i am really interested in related to water management to enhance effectiveness of studying Ph.D.